- เขียนประวัติส่วนตัว
- เขียนว่าทำไมถึงอยากมาเรียนแผนกสารสนเทศ
สัปดาห์ที่ 2
- เขียนโปรแกรมชีวิต
- เขียนโปรแกรมท่องเที่ยว
- ทำงานใบงานที่ 1
สัปดาห์ที่ 3
- ให้นำเมลล์ไปใส่ใน Blog ของอาจารย์
- ตรวจงานที่ทำในสัปดาห์ที่ 2
สัปดาห์ที่ 4
- หาประวัติภาษาซี จุดเด่น จุดด้อย
- ยกตัวอย่างโปรแกรมแสดงประวัติตัวเอง
ภาษาCหมายถึง เป็นภาษาโปรแกรมภาษาหนึ่ง ซึ่งพัฒนาขึ้นมาโดย เดนนิสริทชี่ (Dennis Ritchie) ที่ Bell Laboratories เมื่อปี พ.ศ. 2515 ภาษา C แม้จะเป็นภาษาระดับสูง แต่ก็สามารถใช้เป็นภาษาเครื่องได้เป็นอย่างดี มันมีความเกี่ยวพันใกล้ชิดกับ ระบบการทำงานของ UNIX (UNIX operating system) ในปัจจุบันนำมาใช้กันอย่างกว้างขวางและได้รับการรับรองมาตรฐานโดย ANSI (American Nation Standard Institute)
ประวัติของภาษาC ภาษาซี (C Language) พัฒนาครั้งแรกเพื่อใช้เป็นภาษาสำหรับพัฒนาระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ( Unix Opearating System) แทนภาษาแอสเซมบลี ซึ่งเป็นภาษาระดับต่ำที่สามารถกระทำในระบบฮาร์ดแวร์ได้ด้วยความรวดเร็ว แต่จุดอ่อนของภาษาแอซเซมบลีก็คือความยุ่งยากในการโปรแกรม ความเป็นเฉพาะตัว และความแตกต่างกันไปในแต่ละเครื่อง เดนนิส ริตชี จึงได้คิดค้นพัฒนาภาษาใหม่นี้ขึ้นมา โดยการรวบรวมเอาจุดเด่นของแต่ละภาษาระดับสูงผนวกเข้ากับภาษาระดับต่ำ เรียกชื่อว่า ภาษาซี ปัจจุบันภาษาซีได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเนื่องจากความสามารถในการใช้งานความกะทัดรัดของโปรแกรม และคุณสมบัติอื่นๆ อีกหลายประการ ซึ่งพิสูจน์ให้เห็นว่าภาษาซีเหมาะสำหรับเขียนโปรแกรมประยุกต์ใชักับงานต่างๆ ได้ดี แม้แต่ตัวแปลภาษาซี (C Compiler) บางตัวก็ใช้เขียนภาษาซีได้ C , C++ : หรือที่เรียกกันว่า ภาษาซี ใครที่เขียนภาษานี้ได้จะต้องมีพื้นฐานทางด้านการเขียนโปรแกรมสูงมาก ภาษานี้จะใช้กับการพัฒนาพวกโปรแกรม หรือว่าเกมส์ใหญ่ๆ ที่ต้องใช้กราฟิกเยอะๆ เสียงประกอบ โปรแกรมที่จะต้องใช้ในการช่วย RUN (เรียกใช้งาน) ก็ไม่จำเป็นต้องมี เพราะว่า Library หรือว่าชุดคำสั่งทั้งหมดของภาษานี้จะมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นพื้นฐานอยู่แล้ว ส่วน Visual Basic ดูเหมือนว่าจะเป็นภาษาที่อินเทรนด์ หรือเป็นที่นิยมมากที่สุด เพราะค่อนข้างใช้งานง่าย นอกจากนั้นยังสามารถเขียนเกมส์ หรือโปรแกรมได้โดยวิธีการ Drag & Drop หรือ ลากแล้ววาง ภาษาที่ใช้ก็ง่ายต่อการเข้าใจ แต่ข้อเสียของมันอยู่ที่ว่าโปรแกรมนี้ต้องมีโปรแกรมที่ช่วยในการ RUN ด้วย นั่นก็คือโปรแกรม Visual Basic Runtime Module แต่เดี๋ยวนี้ส่วนใหญ่ User จะดาวน์โหลดติดตั้งเอาไว้ในเครื่องอยู่แล้ว จึงไม่ใช่เป็นปัญหาใหญ่ Visual Basic เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมในการนำมาใช้งานพัฒนาโปรแกรมบนระบบ Windows เนื่องจากเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีในลักษณะ Visualize คือสะดวกในการหยิบเครื่องไม้เครื่องมือที่โปรแกรมได้จัดเตรียมไว้ให้สำหรับออกแบบหน้าจอและสิ่งต่างๆ สำหรับใช้ในการเขียนโปรแกรมให้เรียบร้อย ซึ่งแตกต่างจากสมัยก่อนเวลาจะออกแบบหน้าจอก็ยังคงต้องมานั่งเขียน Source Code ให้ลำบาก จะเลือกภาษาไหนดี? น้าชาติว่าภาษาเป็นเรื่องรองๆ อย่าจำกัดตัวเองอยู่กับภาษาใดภาษาหนึ่งเลย เพราะถ้าวรพัฒน์ต้องการเป็น Programmer ที่เก่ง ก็ต้องศึกษาให้มาก อย่าให้ภาษาเป็นกำแพงกั้นความรู้ รู้กว้างๆ เอาไว้ไม่เสียหาย เรียนรู้เทคนิคในการเขียนโปรแกรมให้มาก โดยเฉพาะเรื่อง Algorithm มันจะแทรกเข้าไปอยู่ในทุกๆ โปรแกรมค่อนข้างใช้งานง่าย นอกจากนั้นยังสามารถเขียนเกมส์ หรือโปรแกรมได้โดยวิธีการ Drag & Drop หรือ ลากแล้ววาง ภาษาที่ใช้ก็ง่ายต่อการเข้าใจ แต่ข้อเสียของมันอยู่ที่ว่าโปรแกรมนี้ต้องมีโปรแกรมที่ช่วยในการ RUN ด้วย นั่นก็คือโปรแกรม Visual Basic Runtime Module แต่เดี๋ยวนี้ส่วนใหญ่ User จะดาวน์โหลดติดตั้งเอาไว้ในเครื่องอยู่แล้ว จึงไม่ใช่เป็นปัญหาใหญ่ Visual Basic เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมในการนำมาใช้งานพัฒนาโปรแกรมบนระบบ Windows เนื่องจากเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีในลักษณะ Visualize คือสะดวกในการหยิบเครื่องไม้เครื่องมือที่โปรแกรมได้จัดเตรียมไว้ให้สำหรับออกแบบหน้าจอและสิ่งต่างๆ สำหรับใช้ในการเขียนโปรแกรมให้เรียบร้อย ซึ่งแตกต่างจากสมัยก่อนเวลาจะออกแบบหน้าจอก็ยังคงต้องมานั่งเขียน Source Code ให้ลำบาก จะเลือกภาษาไหนดี? น้าชาติว่าภาษาเป็นเรื่องรองๆ อย่าจำกัดตัวเองอยู่กับภาษาใดภาษาหนึ่งเลย เพราะถ้าวรพัฒน์ต้องการเป็น Programmer ที่เก่ง ก็ต้องศึกษาให้มาก อย่าให้ภาษาเป็นกำแพงกั้นความรู้ รู้กว้างๆ เอาไว้ไม่เสียหาย เรียนรู้เทคนิคในการเขียนโปรแกรมให้มาก โดยเฉพาะเรื่อง Algorithm มันจะแทรกเข้าไปอยู่ในทุกๆ โปรแกรม
โครงสร้างของภาษาC โปรแกรมในภาษาซีทุกโปรแกรมจะประกอบด้วยฟังก์ชันอย่างน้อย หนึ่งฟังก์ชัน คือ ฟังก์ชัน main โดยโปรแกรมภาษาซีจะเริ่มทำงานที่ฟังก์ชัน main ก่อน ในแต่ละฟังก์ชันจะประกอบด้วย 1. Function Heading ประกอบด้วยชื่อฟังก์ชัน และอาจมีรายการของ argument (บางคนเรียก parameter) อยู่ในวงเล็บ 2. Variable Declaration ส่วนประกาศตัวแปร สำหรับภาษาซี ตัวแปรหรือค่าคงที่ทุกตัว ที่ใช้ในโปรแกรมจะต้องมีการประกาศก่อนว่าจะใช้งานอย่างไร จะเก็บค่าในรูปแบบใดเช่น interger หรือ real number 3. Compound Statements ส่วนของประโยคคำสั่งต่างๆ ซึ่งแบ่งเป็นประโยคเชิงซ้อน (compound statement) กับ ประโยคนิพจน์ (expression statment) โดยประโยคเชิงซ้อนจะอยู่ภายในวงเล็บปีกกาคู่หนึ่ง { และ } โดยในหนึ่งประโยคเชิงซ้อน จะมีประโยคนิพจน์ที่แยกจากกันด้วยเครื่องหมาย semicolon (;) หลายๆ ประโยครวมกัน และ อาจมีวงเล็บปีกกาใส่ประโยคเชิงซ้อนย่อยเข้าไปอีกได้ 3. Compound Statements ส่วนของประโยคคำสั่งต่างๆ ซึ่งแบ่งเป็นประโยคเชิงซ้อน (compound statement) กับ ประโยคนิพจน์ (expression statment) โดยประโยคเชิงซ้อนจะอยู่ภายในวงเล็บปีกกาคู่หนึ่ง { และ } โดยในหนึ่งประโยคเชิงซ้อน จะมีประโยคนิพจน์ที่แยกจากกันด้วยเครื่องหมาย semicolon (;) หลายๆ ประโยครวมกัน และ อาจมีวงเล็บปีกกาใส่ประโยคเชิงซ้อนย่อยเข้าไปอีกได้
#include
#include
main()
{
clrscr();
cout<<"My name is Miss.Warissara Wannapanish \n";
cout<<"Nick name Pang \n";
cout<<"age 18 year old\n";
cout<<"Address 1141/54 T.Meaklong A.Mueng Samutsongkram 75000\n";
cout<<"Institute Samutsongkhram Technical College\n";
cout<<"Section Information Technorogy\n";
cout<<"Father Name\n";
cout<<"Kongsak Wannapanish\n";
cout<<"Mother Name\n";
cout<<"Rinna Wannapanish\n";
cout<<"Weight 48 kg.\n";
cout<<"High 164 cm.\n";
getch();
return 0;
}
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น